พาเที่ยววัดเลียบ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี wat-leape-ubon
พาเที่ยววัดเลียบ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
อีกวัดหนึ่งที่มีความสำคัญ ใน จ.อุบลราชธานี นั่นก็คือวัดเลียบ ครับผม
วัดเลียบนี้ก่อตั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช 2391
จุลศักราชที่ 1210 หรือ รัตนโกสินทร์ศก 67 ตรงกับปลายรัชกาลที่ 3
ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว วัดเลียบเป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต
ในสมัยพระยาสิงหเทพมาเป็นข้าหลวงกำหับราชการเมืองอุบลราชธานี จึงให้ท้าวสิทธิสารบุญชู
คือ พระอุบลกาลประชานิจ กับเมืองแสนอุ่น กรมช้างทองจัน พร้อมด้วยญาติวงศ์พากันมาปฏิสังขรณ์วัดเลียบขึ้น
แล้วนิมนต์พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีลเถร พระอาจารย์ฝ่ายวิปัสนามาเป็นเจ้าอาวาสวัดเลียบ
ในทุกๆต้นปี ช่วงปลายเดือน มกราคม จะมีการจัดงานบุญมหาชาติประจำปี ขึ้น ซึ่งมีการเทศน์ลำมหาชาติ
ตลอดจัดแห่กัณฑ์ต้น-กัณฑ์หลอนจากชุมชน คุ้มวัดต่างๆ ตักบาตรวันเกิด ถวายภัตตาหารเช้า-เพล แด่คณะสงฆ์
โดยในปี 2560 นี้จะจัดขึ้นในวันที่ 30-31 มกราคา 2560 รายละเอียดของงาน และบรรยากาศของวัดลองดูในภาพได้เลยครับ
รายละเอียดของงานบุญมหาชาติประจำปี 2560 จัดขึ้นวันที่ 30-31 มกราคม 2560
เสาอโศกมหาราช จำลอง ภายในวัดเลียบ
เสมาจารึก ประวัติวัดเลียบ
ใบเสมา ประวัติพระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีลเถร
ภายในอุโบสถ มีรูปปั้น พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีลเถร และ บาตร จีวร ของพระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีลเถร
ด้านบนหอไตรมีรูปปั้นหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ด้านบนหอไตรมีรูปปั้นหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ด้านบนหอไตรมีรูปปั้นหลวงปู่เสาร์ และ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ภาพวาดรูปเทวดา ด้านหน้าทางเข้า
ภายในอุโบสถ มีจัดแสดงรูปหลวงปู่เสาร์ ของใช้ขององค์หลวงปู่เสาร์ บาตร จีวร
ภายในอุโบสถ มีจัดแสดงรูปหลวงปู่เสาร์ ของใช้ขององค์หลวงปู่เสาร์ บาตร จีวร
ภายในอุโบสถ มีจัดแสดงรูปหลวงปู่เสาร์ ของใช้ขององค์หลวงปู่เสาร์ บาตร จีวร
ภายในอุโบสถ มีจัดแสดงรูปหลวงปู่เสาร์ ของใช้ขององค์หลวงปู่เสาร์ บาตร จีวร
ภายในอุโบสถ มีจัดแสดงรูปหลวงปู่เสาร์ ของใช้ขององค์หลวงปู่เสาร์ บาตร จีวร
ภายในอุโบสถ มีจัดแสดงรูปหลวงปู่เสาร์ ของใช้ขององค์หลวงปู่เสาร์ บาตร จีวร
ภายในอุโบสถ มีจัดแสดงพระธาตุของหลวงปู่เสาร์
ภายในอุโบสถ มีจัดแสดงรูปปั้นของหลวงปู่เสาร์
ภายในอุโบสถ มีจัดแสดงรูปปั้นของหลวงปู่เสาร์
ต้นสาละคือไม้ในพุทธประวัติที่ปรากฏอยู่ในเหตุการณ์สำคัญ ๒ ตอน นั่นคือ ในคราวที่พระนางสิริมหามายามีพระประสูติการเจ้าชายสิทธัตถะ พระนางได้ประทับอยู่ใต้ต้นสาละ และเมื่อคราวเสด็จปรินิพพาน พระพุทธองค์ได้ประทับอยู่ใต้ต้นสาละเช่นเดียวกับตอนประสูติ
ต้นสาละคือไม้ในพุทธประวัติที่ปรากฏอยู่ในเหตุการณ์สำคัญ ๒ ตอน นั่นคือ ในคราวที่พระนางสิริมหามายามีพระประสูติการเจ้าชายสิทธัตถะ พระนางได้ประทับอยู่ใต้ต้นสาละ และเมื่อคราวเสด็จปรินิพพาน พระพุทธองค์ได้ประทับอยู่ใต้ต้นสาละเช่นเดียวกับตอนประสูติ
อีกมุมของอุโบสถด้านนอก จะแสดงศิลปะวัฒนธรรมอีสาณ ในออกแบบได้ชัดเจน
ประตูวัดเลียบ
นักท่องเที่ยวสามารถมาเยี่ยม หรือ เที่ยวชม วัดเลียบได้ตาม Google Map เลยครับ